“ครู” ถือเป็นอาชีพที่มีความสำคัญต่อคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ ระบบการศึกษา
ตลอดจนการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไปในอนาคต หากประเทศใดที่มี “ครู” ที่มีคุณภาพ
ย่อมเป็นเครื่องการันตีได้ถึงแนวโน้มในการมีทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ…ประเทศไทยเป็นหนึ่งในหลายประเทศที่ให้ความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของครูให้มี
สมรรถนะและมีความสามารถที่เพียงพอต่อการเป็นหนึ่งใน “เสาหลัก”
แห่งการพัฒนาประเทศ
ดังจะเห็นได้จากตั้งแต่ในปี 2542 ที่ผ่านมา ได้มีการปฏิรูประ
บบการศึกษาไทย ไม่ว่าจะครู คณาจารย์ และบุคลากรการศึกษา รวมอยู่ด้วย
โดยเป็นการปฏิรูปครูทั้งระบบ ตั้งแต่ระบบการผลิตครู การพัฒนาครู การควบครูวิชาชีพ
และการบริหารงานบุคคล
ส่วนของระบบการ ผลิตครูนั้น
ได้มีการปรับหลักสูตรที่ใช้ในการผลิตครูที่เป็นผู้สอนในระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน
ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยเริ่มใช้หลักสูตร 5 ปี ครั้งแรก
ตั้งแต่ปีการศึกษา 2547และ ณ วันนี้
จากการสิ้นสุดการอบรมด้วยหลักสูตรดังกล่าวนอกจากจะทำให้ได้ “ครูรุ่นใหม่”
จำนวนถึง
2,041 คนแล้ว การอบรมที่เข้มงวดตลอดระยะเวลา 5 ปี
ยังทำให้ระบบการศึกษาไทยได้บุคคลที่ประกอบ “อาชีพครู”
ที่เป็น
“ครูอาชีพ” อีกด้วย
ความแตกต่างที่ชัดเจนที่สุดระหว่าง “อาชีพครู”
กับ
“ครูอาชีพ” คงหนีไม่พ้น “ครูอาชีพ” คือ
ครูที่มีความรู้ ความสามารถ ความเมตตากรุณา
จิตวิญญาณของความเป็นครูในการอบรมสั่งสอนนักเรียนอย่างสุดความสามารถ
โดยไม่รู้จักเหน็ดจักเหนื่อย แม้ว่าปัจจุบันจะมีบุคคลที่ได้ชื่อเป็นเพียงผู้ประกอบ
“อาชีพครู” แอบแฝงในแวดวงครูอยู่บ้าง
แต่ก็เชื่อว่าครูรุ่นเก่าหรือแม้แต่ครูรุ่นใหม่ที่กำลังจะสำเร็จการศึกษาจากหลักสูตร
5 ปีนั้น ส่วนใหญ่ต่างมีความเป็น “ครูอาชีพ”
อย่างเต็มเปี่ยมแน่นอน…
อย่าง ไรก็ตาม
ความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในยุคที่เต็มไปด้วยความวุ่นวายนั้น ย่อมส่งผลให้ “ครู” ถูกคาดหวังจากสังคมในการทำหน้าที่เป็น
“เบ้าหลอม” แห่งการผลิตทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นทั้งคนดี คนเก่ง
และใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขในสังคม
จากความคาดหวังที่สังคมมีต่อ
“ครู” ในขณะนี้ ส่งผลให้ “ครูมืออาชีพ” จำเป็นต้องมีการจัดการเรียนการสอน
และพัฒนาตัวเองในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การพัฒนาความสามารถด้านการสอน
โดยการจัดการองค์ความรู้ที่จะสอนอย่างมีคุณภาพ ทั้งในแง่การพัฒนาความรอบรู้
ในเนื้อหาสาระของวิชาที่จะสอนอย่างลึกซึ้ง
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ โดยเน้นการอบรมสั่งสอนที่พัฒนาทักษะชีวิต
สุขภาพกาย สุขภาพจิต เพื่อให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้อย่างมีระบบ การจัดกิจกรรมเพื่อให้ผูเรียนคิดเป็น
ทำเป็น และแก้ปัญหาได้ มีการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อการจัดการความรู้
และมีการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนจากผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง
การ ดำรงชีวิตอย่างมีวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยการเป็นผู้ที่มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบ
ข้อบังคับ กติกาของสังคม มีความประพฤติที่เป็นเบบอย่างที่ดีทั้งทางกาย
แต่งกายเหมาะสมกับกาลเทศะ มีมารยาท และเป็นมิตรกับลูกศิษย์ ตามบทบาทและสถานการณ์
ทางวาจา สุภาพ จริงใจและสร้างสรรค์ ที่ก่อให้เกิด
“ครู” ถือเป็นอาชีพที่มีความสำคัญต่อคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ ระบบการศึกษา
ตลอดจนการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไปในอนาคต หากประเทศใดที่มี “ครู” ที่มีคุณภาพ
ย่อมเป็นเครื่องการันตีได้ถึงแนวโน้มในการมีทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ…ประเทศไทยเป็นหนึ่งในหลายประเทศที่ให้ความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของครูให้มี
สมรรถนะและมีความสามารถที่เพียงพอต่อการเป็นหนึ่งใน “เสาหลัก”
แห่งการพัฒนาประเทศ
ดังจะเห็นได้จากตั้งแต่ในปี 2542 ที่ผ่านมา ได้มีการปฏิรูประ
บบการศึกษาไทย ไม่ว่าจะครู คณาจารย์ และบุคลากรการศึกษา รวมอยู่ด้วย
โดยเป็นการปฏิรูปครูทั้งระบบ ตั้งแต่ระบบการผลิตครู การพัฒนาครู การควบครูวิชาชีพ
และการบริหารงานบุคคล
ส่วนของระบบการ ผลิตครูนั้น
ได้มีการปรับหลักสูตรที่ใช้ในการผลิตครูที่เป็นผู้สอนในระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน
ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยเริ่มใช้หลักสูตร 5 ปี ครั้งแรก
ตั้งแต่ปีการศึกษา 2547และ ณ วันนี้
จากการสิ้นสุดการอบรมด้วยหลักสูตรดังกล่าวนอกจากจะทำให้ได้ “ครูรุ่นใหม่”
จำนวนถึง
2,041 คนแล้ว การอบรมที่เข้มงวดตลอดระยะเวลา 5 ปี
ยังทำให้ระบบการศึกษาไทยได้บุคคลที่ประกอบ “อาชีพครู”
ที่เป็น
“ครูอาชีพ” อีกด้วย
ความแตกต่างที่ชัดเจนที่สุดระหว่าง “อาชีพครู”
กับ
“ครูอาชีพ” คงหนีไม่พ้น “ครูอาชีพ” คือ
ครูที่มีความรู้ ความสามารถ ความเมตตากรุณา
จิตวิญญาณของความเป็นครูในการอบรมสั่งสอนนักเรียนอย่างสุดความสามารถ
โดยไม่รู้จักเหน็ดจักเหนื่อย แม้ว่าปัจจุบันจะมีบุคคลที่ได้ชื่อเป็นเพียงผู้ประกอบ
“อาชีพครู” แอบแฝงในแวดวงครูอยู่บ้าง
แต่ก็เชื่อว่าครูรุ่นเก่าหรือแม้แต่ครูรุ่นใหม่ที่กำลังจะสำเร็จการศึกษาจากหลักสูตร
5 ปีนั้น ส่วนใหญ่ต่างมีความเป็น “ครูอาชีพ”
อย่างเต็มเปี่ยมแน่นอน…
อย่าง ไรก็ตาม
ความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในยุคที่เต็มไปด้วยความวุ่นวายนั้น ย่อมส่งผลให้ “ครู” ถูกคาดหวังจากสังคมในการทำหน้าที่เป็น
“เบ้าหลอม” แห่งการผลิตทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นทั้งคนดี คนเก่ง
และใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขในสังคม
จากความคาดหวังที่สังคมมีต่อ
“ครู” ในขณะนี้ ส่งผลให้ “ครูมืออาชีพ” จำเป็นต้องมีการจัดการเรียนการสอน
และพัฒนาตัวเองในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การพัฒนาความสามารถด้านการสอน
โดยการจัดการองค์ความรู้ที่จะสอนอย่างมีคุณภาพ ทั้งในแง่การพัฒนาความรอบรู้
ในเนื้อหาสาระของวิชาที่จะสอนอย่างลึกซึ้ง
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ โดยเน้นการอบรมสั่งสอนที่พัฒนาทักษะชีวิต
สุขภาพกาย สุขภาพจิต เพื่อให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้อย่างมีระบบ การจัดกิจกรรมเพื่อให้ผูเรียนคิดเป็น
ทำเป็น และแก้ปัญหาได้ มีการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อการจัดการความรู้
และมีการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนจากผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง
การ ดำรงชีวิตอย่างมีวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยการเป็นผู้ที่มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบ
ข้อบังคับ กติกาของสังคม มีความประพฤติที่เป็นเบบอย่างที่ดีทั้งทางกาย
แต่งกายเหมาะสมกับกาลเทศะ มีมารยาท และเป็นมิตรกับลูกศิษย์ ตามบทบาทและสถานการณ์
ทางวาจา สุภาพ จริงใจและสร้างสรรค์ ที่ก่อให้เกิด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น